เศรษฐศาสตร์


สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์


มาตรฐาน ส.๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่ารวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ


ตัวชี้วัด


๑. อธิบายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์

๒. วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ

๓. อธิบายความเป็นมาหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย


มาตรฐาน ส.๓.๒ เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่าง ๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ

และความจำเป็นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก



ตัวชี้วัด


๑. วิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลาง

๒. ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ

๓. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนด อุปสงค์และอุปทาน

๔. อภิปรายผลของการมีกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญา



คำอธิบายรายวิชา


ศึกษาค้นคว้าความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทยบทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลางการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนด อุปสงค์และอุปทานกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ โอเชียเนีย เส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ สาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนียผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนียความร่วมมือของประเทศต่าง ๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนียที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใช้แหล่งข้อมูลที่หลากหลายกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย

โดยกระบวนการอธิบายความหมายและความสำคัญของเศรษฐศาสตร์วิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศอธิบายหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทยวิเคราะห์บทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลางอธิบายการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศวิเคราะห์ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนด อุปสงค์และอุปทานอภิปรายกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาวิเคราะห์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ โอเชียเนียอธิบายเส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ วิเคราะห์สาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนียวิเคราะห์ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนียวิเคราะห์ความร่วมมือของประเทศต่าง ๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนียวิเคราะห์ที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใช้แหล่งข้อมูลที่หลากหลายอธิบายกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย

เพื่อเห็นความสำคัญตระหนักถึงความสำคัญของค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศ ตระหนักถึงหลักการและความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทยเห็นความสำคัญบทบาทหน้าที่และความแตกต่างของสถาบันการเงินแต่ละประเภทและธนาคารกลางเห็นความสำคัญการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศตระหนักถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกำหนด อุปสงค์และอุปทาน เห็นความสำคัญกฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สินทางปัญญาเห็นความสำคัญเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ) ในการสืบค้นข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ โอเชียเนีย เห็นความสำคัญเส้นแบ่งเวลา และเปรียบเทียบวัน เวลาของประเทศไทยกับทวีปต่าง ๆ ตระหนักถึงสาเหตุและแนวทางป้องกันภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย

เห็นความสำคัญผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติของทวีปเอเชียออสเตรเลียและโอเชียเนียเห็นความสำคัญของความร่วมมือของประเทศต่าง ๆ ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติของทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เห็นความสำคัญที่ตั้งกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย โดยใช้แหล่งข้อมูลที่หลากหลายตระหนักถึงกายภาพและสังคมที่มีผลต่อการเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย

รหัสตัวชี้วัด

ส๓.๑ ม.๑/๑ ส๓.๑ ม.๑/๒ ส๓.๑ ม.๑/๓

ส๓.๒ ม.๑/๑ ส๓.๒ ม.๑/๒ ส๓.๒ ม.๑/๓ ส๓.๒ ม.๑/๔

รวม ๗ ตัวชี้วัด


_